4134204 การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ Development
33 Slides1.38 MB
4134204 การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ Development of Electronics Media for Learning CHAPTER 5 ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (Learning Management System) สื่อประกอบการสอน : 4134204 อ.จิรวดี โยยรัมย์
บทนำ o e-Learning มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นสื่อประสม (Multimedia) ที่มป ี ฎิสม ั พันธ์ (Interactive) กับผู้เรียน เนื้อหาประกอบด้วยภาพเคลื่อนไหว ภาพนิง ่ และเสียง เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนใส่ใจในสารสนเทศที่เราส่งไป o เป็นสื่อ Non-Linear ที่ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความ สามารถ ตามความสนใจของตนเอง o สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และสามารถเรียนได้ทก ุ ที่ ทุก เวลา o และในบทนื้จะบอกถึงองค์ประกอบหลักใน e-Learning คือ ระบบ บริหารจัดการเรียนการสอน (Learning Management System) และเครื่องมือติดต่อสือสาร (Communication) เพื่อใช้ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอนนัน ่ เอง
ความหมายของระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) o คือ ระบบการจัดการด้านการเรียนรูท ้ ี่ทำงานผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยมี การจัดการทางด้านคอร์สแวร์ ตลอดจนถึงองค์ประกอบต่าง ๆ คล้ายกับการเรียน การสอนจริงทุกประการ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง ทำกิจกรรม ต่าง ๆ ที่ได้มก ี ารออกแบบไว้ และประเมินผลได้ด้วยตนเอง ผู้สอนสามารถติดตาม และตรวจปรับการเรียนของผู้เรียนได้ อีกทัง ้ ยังมีระบบบริหารจัดการที่ครอบคลุม การจัดการสื่อการเรียนการสอนทัง ั , 2548: 98) ้ หมด (มนต์ชย o LMS มีช่ อ ื เรียกต่างกันหลายชื่อ เช่น ระบบบริหารการเรียน ระบบจัดการเรียน การ สอน หรืออื่น ๆ ซึ่งเป็นส่วนที่สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู ้ ได้ด้วยตนเองโดย ใช้อีเลิรน ์ นิ่งผ่านระบบจัดการเรียนการสอนที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเปิด-ปิด รายวิชาเรียน ลงทะเบียนเรียน กำหนดลำดับของเนื้อหาในบทเรียน นำส่งบทเรียน ประเมินผลความสำเร็จของผู้เรียน ควบคุม และสนับสนุนการให้บริการทัง ้ หมดแก่ผู้ เรียนจึงถือได้วา่ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการเรียนการสอนออนไลน์ (Online) มากที่สด ุ นับตัง ้ แต่ลงทะเบียนเรียนจนสิน ้ สุดกระบวนการเรียนรู ้
ความหมายของระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) o LMS ที่ดีจะต้องทำหน้าที่ติดตามผู้เรียนตัง ้ แต่ต้นจนผู้เรียนจบหลักสูตร โดยทำ หน้าที่เสมือนที่ผู้สอน และที่ปรึกษาในคราวเดียวกัน เพื่อให้การเรียนการสอน ออนไลน์ของผู้เรียนซึ่งส่วนหนึ่งเป็นการศึกษาทางไกลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นการศึกษาเสมือนจริงในชัน ี ู้สอน ้ เรียนปกติที่มผ o เป็นผู้นำ ทำให้กระบวนการเรียนรูเ้ ป็นไปอย่างมีชวี ต ิ ชีวา มุง ่ เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางซึ่งผู้เรียนเป็นผู้คิดตัดสินใจ โดยการสร้างสรรค์ความรู ้ และความคิดใหม่ ๆ ได้ด้วยตนเอง o สามารถเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู ้ ให้เข้ากับชีวต ิ จริงหรือประสบการณ์ที่เป็นอยูไ่ ด้ อย่างกลมกลืนในสังคมแห่งการเรียนรูย ้ ุค ICT เช่นปัจจุบน ั (มนต์ชย ั , 2549 : 45)
ความหมายของระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) o LMS เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรูท ้ ี่อำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่ม เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู ้ การสื่อสารโต้ตอบระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน รวมทั ง ้ การสร้างแบบทดสอบการทดสอบ และการประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดย โปรแกรมที่ใช้สร้างระบบ LMS ในปัจจุบน ั มีให้เลือกอยู่ 2 ลักษณะ (ซีเอ็มเอ็สไทยแล นท์ดอทคอม, 2550) คือ o ระบบการเรียนรูแ ้ บบระบบเปิด (Open Source LMS) เช่น Moodel, ATutor, ILIAS, Sakai,Claroline ในส่วนของประเทศไทยก็มก ี ารพัฒนา ซอฟต์แวร์ลักษณะนี้เช่นกัน เช่น LearnSquare พัฒนาโดยทีมงาน NECTEC หรือ VClass เป็น LMS สัญชาติไทย พัฒนาโดยศูนย์ Distributed Education Center สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) เป็นต้น o ซอฟต์แวร์ที่บริษัทเอกชนพัฒนาเพื่อขายโดยเฉพาะ (Commercial LMS) เช่น Blackboard Learning System, WebCT, Education Sphere, Dell Learning System (DLS) ในส่วนของประเทศไทยก็มี เช่น Thaielearner ของบริษัท เคทีพค ี อมพ์แอนด์คอนซัลท์ จำกัด
(Learning Management System : LMS) o จากการสำรวจเว็บไซต์ e-Learning ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ใน ประเทศไทยที่มก ี ารใช้ e-Learning ทัง ้ มหาวิทยาลัยในระบบเปิด และปิด พบว่า o มีการนำระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน (LMS : Learning Management System) เข้ามาใช้งาน โดย สามารถแบ่งการ ใช้งาน ออกเป็น 3 ระบบ ได้แก่ o ระบบที่พฒ ั นาขึน ้ เอง o ระบบ Open Source o ระบบที่ต้องจัดซื้อ
(Learning Management System : LMS)
ความหมายของระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) o ระบบ LMS ประกอบไปด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียนและผู้ ดูแลระบบ ผู้สอนสามารถนำเนื้อหา และสื่อการสอนขึ้นเว็บไซต์ตามรายวิชาที่ได้ขอไว้ o ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหากิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บ ผู้สอน และผู้เรียนติดต่อสื่อสาร กัน โดยผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ นอกจากนี้ยง ั มีองค์ประกอบที่ สำคัญ คือ การเก็บบันทึกข้อมูลกิจกรรมการเรียนรูข้ อง ผู้เรียนไว้บนระบบ เพื่อให้ผู้ สอนสามารถนำไปวิเคราะห์เพื่อติดตาม o ประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานัน ้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Com-Science, 2007)
ผู้ใช้งานในระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ o กลุ่มผู้บริหารระบบ (Administrator) ทำหน้าที่ในการติดตัง ้ ระบบ LMS การกำหนดค่าเริม ่ ต้นของระบบ การสำรองฐานข้อมูล การกำหนด สิทธิก ์ ารเป็นผู้สอน o กลุ่มอาจารย์หรือผู้สร้างเนื้อหาการเรียน (Instructor/Teacher) ทำหน้าที่เพิม ใบ ่ เนื้อหา บทเรียนต่าง ๆ เข้าระบบ อาทิ ข้อมูลรายวิชา เนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การประเมินผู้เรียนโดยใช้ขอ ้ สอบ ปรนัย อัตนัย การให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และสนทนากับ ผู้เรียน o กลุ่มผู้เรียน (Student/Guest) หมายถึงนักเรียน นักศึกษา ที่สมัคร เข้าเรียนตามหัวข้อต่าง ๆ รวมทัง ั มอบหมายจากผู้ ้ ทำแบบฝึกหัด ตามที่ได้รบ สอน โดยอาจารย์สามารถแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ และสามารถตัง ้ รหัสผ่านในการ เข้าเรียนแต่ละวิชาได้ (ซีเอ็มเอ็สไทยแลนท์ดอทคอม, 2550)
ฟังก์ชน ั่ ของระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ ระบบ LMS จะประกอบด้วยระบบต่าง ๆ เชื่อมโยงกันโดยมีฟง ั ก์ชัน ่ การทำงาน ดังนี้ (มนต์ชย ั , 2548 : 99) o Administration ส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการบทเรียน เนื้อหา หลักสูตรวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้สอน หรือผู้พฒ ั นาหลักสูตรสามารถบริหารจัดการบทเรียนหรือคอร์สแวร์ได้โดยง่าย o Organization Management ส่วนนี้เกี่ยวข้องกับการรวบรวมเนื้อหาบท เรียนเพื่อให้ผู้สอนหรือผู้พฒ ั นาบทเรียนสามารถรวบรวมเนื้อหา หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับ บทเรียนได้ o Time Management ส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการด้านเวลา เช่น ระยะเวลาสำหรับในการศึกษาในแต่ละหลักสูตร ตลอดจนถึงการจัดการเวลาในการทำ กิจกรรม และการประเมินผลเป็นต้น o Reporting การรายงานผลการเรียน ระบบ LMS จะต้องรายงานผลการเรียน ของผู้เรียน โดยแสดงในรูปของกราฟ สถิติต่าง ๆ ได้ อีกทั ง ้ ยังสามารถเปรียบเทียบ ผลการเรียนของผู้เรียนกับมาตรฐานในรายวิชานัน ้ ๆ เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงผล สัมฤทธิท ์ างการเรียนของตนเองได้
ฟังก์ชน ั่ ของระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ ระบบ LMS จะประกอบด้วยระบบต่าง ๆ เชื่อมโยงกันโดยมีฟง ั ก์ชัน ่ การทำงาน ดังนี้ (มนต์ชย ั , 2548 : 99) o Need Analysis การวิเคราะห์ความต้องการ ระบบ LMS จะต้องสามารถ วิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนได้ โดยเฉพาะผู้เรียนที่เคยลงทะเบียนไว้กับระบบแล้ว โดย การตรวจสอบข้อมูลเก่าของผู้เรียนรายนัน ้ เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาหรือบทเรียนที่คาด ว่าจะอยูใ่ นความสนใจแล้วนำเสนอเนื้อหาหรือบทเรียนที่วเิ คราะห์ได้ให้กับผู้เรียน o Preplanning ส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับการเตรียมวางแผนบทเรียน เช่น จะสอน อะไร สอนอย่างไร ใครเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะศึกษาในหลักสูตรนี้ แนวทางการจัด กิจกรรมการเรียน วิธก ี ารประเมินผล และเกณฑ์การประเมินผล o Scheduling ระบบ LMS ต้องช่วยให้ผู้จด ั การระบบบริหารจัดการตารางเวลา เรียน ได้ง่ายสามารถจัดได้ทัง ้ ในภาพรวมขององค์กร หรือเจาะจงในแต่ละรายวิชาได้ o Knowledge Management ระบบ LMS บางระบบจะมีสว่ นของการบริหาร จัดการด้านองค์ความรู ้ ที่ประกอบไปด้วย การค้นหา เลือกสรร จัดระบบ กลั น ่ กรอง ข้อมูล เพื่อส่งถ่ายข้อมูลดังกล่าวไปยังบุคคล ในเวลาที่ถก ู ต้อง อีกทั ง ้ ยังจัดเก็บองค์ ความรูต ้ ่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน ทัง ้ ที่เป็นบทเรียนที่กำลังเปิดการเรียนการสอน หรือบทเรียนที่ได้ปิดการเรียนการสอนไปแล้ว เพื่อระบบมีขอ ้ มูลต่าง ๆ สนับสนุนการ ตัดสินใจของผู้บริหารระบบด้วย
ฟังก์ชน ั่ ของระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ Resource planning ส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับการวางแผนด้านทรัพยากร ทัง ั นาบทเรียน เนื้อหา ้ หมด ของระบบ เพื่อประยุกต์ให้เข้ากับผู้เรียน ผู้สอนหรือผู้พฒ หลักสูตร กิจกรรม การเรียนการสอนเป็นต้น o Qualification Management ส่วนนี้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการด้านการ รับรองผลการเรียนของผู้เรียน ที่ผ่านการเรียนจนจบขัน ้ ตอนตามที่ได้ออกแบบไว้ใน บทเรียน ซึ่งใบรับรองนี้จะอยูใ่ นรูปแบบใบประกาศ หรือใบแสดงผลการเรียน เป็นต้น o
ส่วนประกอบของระบบ LMS นอกจากฟังก์ชน ั่ การทำงานของระบบ LMS แล้ว ยังสามารถแบ่งออกเป็นส่วน ประกอบของระบบ LMS จำนวน 5 ส่วน (มนต์ชย ั , 2549 : 45) ดังนี้ ส่วนของการกำหนดสิทธ์ผู้ใช้งาน (Authentication) เป็นส่วนของระบบ LMSในการกำหนดสิทธิผ ิ ธิใ์ นระดับ ์ ู้ใช้งานระบบเพื่อให้ผู้ที่ได้สท ต่าง ๆ สามารถเข้าใช้งานได้ตามสิทธิน ั สิทธิก ์ ัน ้ ๆ ส่วนผู้ที่ไม่ได้รบ ์ ็ไม่สามารถเข้าไปใช้งาน ได้ แบ่งผู้ใช้ระบบออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ 1) ผู้บริหารระบบ (System Administrator) เป็นผู้ดแ ู ลระบบโดยตรง กับเซิรฟ ์ เวอร์หลักเพื่อออกสิทธิก ์ ารใช้งานให้กับผู้สอน และผู้ที่เกี่ยวข้อง 2) นักทะเบียน (Registra) 3) ผู้สอน (Instructor) 4) ผู้เรียน (Student) 5) ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น ผู้ปกครอง หรือผู้ใช้ทัว่ ไป
ส่วนประกอบของระบบ LMS เครื่องมือสำหรับการติดต่อสื่อสาร (Communication Tools) ได้แก่ เครื่องมือต่าง ๆ สำหรับการติดต่อสื่อระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนหรือผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ แบ่งออกได้ดังนี้ 1) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail) 2) กระดานข่าว (Web board) 3) ห้องสนทนา (Chat Room, Live Chat) 4) ปฏิทินการเรียน (Calendar) ได้แก่ ปฏิทิน การศึกษาออนไลน์ กำหนดการในกระบวนการเรียนรู ้ และการนัดหมายต่าง ๆ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ระบบการนำส่งเนื้อหาบทเรียน (Delivery System) ได้แก่ เนื้อหาสาระของบทเรียนที่จะนำส่งไปยังผู้เรียนในลักษณะต่าง ๆ โดยใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางในการส่งผ่านองค์ความรู ้ ซึ่งมีรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้ 1) การบรรยายสด (Live Lecture) ได้แก่ การบรรยายการสอนสดแบบ ออนไลน์ในเวลาจริง โดยการถ่ายทอดสอผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนต้องเข้าไป ศึกษาตามเวลาที่กำหนดไว้ล่วงหน้า รูปแบบนี้สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาทางไกล พร้อม ๆ กับการเรียนการสอนในระบบปกติ
ส่วนประกอบของระบบ LMS ระบบการนำส่งเนื้อหาบทเรียน (Delivery System) ได้แก่ 2) การสอนแบบออฟไลน์ (Offline Teaching) เป็นการบรรยายการสอน ล่วงหน้าไว้ก่อนแล้วบันทึกไว้เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้เรียนดาวน์โหลดไปศึกษาใน เวลาใดก็ได้ ตามสภาพความพร้อม 3) การสอนแบบผสมผสาน (Blended Teaching) โดยการใช้ทัง ้ แบบ ออนไลน์และแบบออฟไลน์ ผสมผสานกันตามที่ผู้สอนได้ออกแบบบทเรียนไว้ รูปแบบนี้ จะมีความยืดหยุน ่ ต่อการเรียนรูม ้ ากกว่าเพื่อกำจัดปัญหาบางประการ เช่นความเร็วของ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต แหล่งอ้างอิงสำหรับผู้เรียน (Reference Resources) เป็นแหล่งอ้างอิงในการเรียนรูส ้ ำหรับผู้เรียน โดยใช้เป็นสื่อหรือเครื่องมือเพื่อช่วย เสริมการเรียนรู ้ ในการศึกษาออนไลน์ แบ่งออกได้ดังนี้ 1) เครื่องมือช่วยค้นหา (Search Engine) ได้แก่ เครื่องมือหรือระบบ สืบค้นที่ใช้ชว่ ยในการสืบค้นรายวิชาหรือข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับการเรียนการสอน 2) การสืบค้นในระบบอินเทอร์เน็ต (Internet Searching) ได้แก่ Web Portal ต่าง ๆ ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น www.google.comและ www.yahoo.com เป็นต้น
ส่วนประกอบของระบบ LMS แหล่งอ้างอิงสำหรับผู้เรียน (Reference Resources) 3) อภิธานศัพท์ (Glossary) ได้แก่ ส่วนของการแสดงความหมายของคำ ศัพท์เฉพาะทาง ที่ใช้ในบทเรียน 4) ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ได้แก่หอ ้ งสมุดบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่ให้บริการสำหรับผู้เรียนในการศึกษาออนไลน์ 5) การเชื่อมโยงไปยังเว็บ (Web Link) ได้แก่ การสร้างการเชื่อมโยง จากเนื้อหาวิชาไปยังเว็บที่เกี่ยวข้องเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนเพื่อเข้าไปศึกษา ข้อมูลเพิม ่ เติม 6) คำถามที่ถามบ่อย (FAQ – Frequently Asked Questions) เป็นบริการถามตอบบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสำหรับคำถามที่มก ั จะถามกันบ่อย ๆ 7) ห้องทำงานกลุ่ม (Team Room) ได้แก่ ห้องต่าง ๆ ที่จด ั ไว้ให้สำหรับผู้ เรียนได้เข้าไปปรึกษากันในการทำงานเป็นกลุ่มเมื่อได้รบ ั มอบหมายจากผู้สอนให้ทำ กิจกรรมลักษณะดังกล่าวนี้ 8) กระดานกราฟิก (White Board) เป็นกระดานสำหรับผู้สอนหรือ ผู้เรียนได้นำเสนอข้อมูล ในลักษณะของกราฟิก เพื่อใช้ในการอภิปรายกลุ่ม 9) บอร์ดประกาศ (Announcement Board) ได้แก่ ประกาศต่าง ๆ ที่ สถานศึกษาหรือผู้สอนต้องการแจ้งให้กับผู้เรียนทัว่ ไปทราบ เช่นกำหนดการ หรือ กิจกรรมต่าง ๆ
ส่วนประกอบของระบบ LMS ระบบการติดตามผู้เรียน (Tracking System) เป็นส่วนหนึ่งของระบบLMS ในการติดตามพฤติกรรมการเรียนรูข้ องผู้เรียน ทำให้ผู้สอนสามารถทราบว่าผู้เรียนแต่ละคนได้เข้ามาศึกษาตามกิจกรรมที่ก ำหนดหรือ ไม่ เพียงใด และมีความก้าวหน้าทางการเรียนในระดับใดระบบการติดตามผู้เรียนจึงมี ความสำคัญต่อการเรียนรูด ้ ้วยอีเลิรน ์ นิ่งเป็นอย่างมาก เนื่องจากผู้เรียนและผู้สอนอยู่ ไกลกัน จึงมีความจำเป็นต้องทราบพฤติกรรมการเรียนรูข้ องผู้เรียนตั ง ้ แต่ลงทะเบียน เรียนจนจบหลักสูตร ตลอดจนต้องมีกลไกในการตรวจสอบระบบการติดตามด้วย ระบบ การติดตามผู้เรียนจำแนกออกได้ดังนี้ 1) การติดตามรายบุคคล (Individual Tracking) เป็นการติดตามผู้ เรียนรายบุคคลแต่ละคน 2) การติดตามรายกลุ่ม (Group Tracking) เป็นการติดตามผู้เรียน รายกลุ่ม ที่อาจจำแนกตามสาขาวิชาที่ลงทะเบียนเรียน หรือกลุ่มพื้นที่ก็ได้
ส่วนประกอบของระบบ LMS การรายงานผลการเรียน (Result Report) แบ่งออกได้ดังนี้ 1) การรายงานผลการสอบ (Examination Results) เป็นรายงานผล การเรียนเมื่อการศึกษาบทเรียนสิน ้ สุดลงในแต่ละรายวิชา 2) ข้อมูลของผู้เรียน (Learner Profile) ได้แก่ ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์ โทรศัพท์ อีเมล์ 3) รายวิชาที่ลงทะเบียน (Registered Courses) ได้แก่ ข้อมูลของผู้ เรียนที่ได้ลงทะเบียนเรียนทางออนไลน์ 4) วัน และเวลาที่รายงาน (Date & Time Report) ได้แก่ รายงาน สถานภาพการลงทะเบียนเรียนตามวันเวลาที่ลงทะเบียน 5) รายละเอียดรายงาน (Detail Report) เป็นการบันทึกของผู้เรียนเกี่ยว กับสิง ้ มูลใดบ้าง เช่น มีการส่งรายงานไปกี่ครัง้ ่ ที่ได้เรียนไปแล้วมีขอ 6) รายงานสถานภาพ (Status Report) เป็นการรายงานสถานภาพ ความ สมบูรณ์ของวิชา ที่ได้ลงทะเบียนเรียนไปแล้ว เพื่อยืนยันความถูกต้อง
ส่วนประกอบของระบบ LMS การประเมินผลการตัดเกรด (Evaluation and Grading) จำแนก ออกได้ดังนี้ 1) การทำข้อสอบแบบออนไลน์ (Online Items) ระบบ LMS ที่ดีจะต้อง สนับสนุนการสร้าง และการทำข้อสอบออนไลน์ของผู้เรียน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำ หน้าที่ประเมินผล บันทึกคะแนนที่ได้ลงในฐานข้อมูล รายงานผลการเรียนไปยังผู้เรียน และผู้สอน 2) การส่งงานอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Submitting) ได้แก่การส่ง งานที่ได้รบ ั มอบหมายในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไปยังผู้สอน รวมทั ง ้ การตรวจงานดัง กล่าวผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3) การตัดเกรด (Grading) ได้แก่ การตัดเกรด และแจ้งเกรดของผู้เรียน แบบออนไลน์
ส่วนประกอบของระบบ LMS การนำเสนอสื่อที่สมบูรณ์ (Rich Media Presentation) o ระบบ LMS ที่ดีจะต้องสนับสนุนการใช้ส่ อ ื อิเล็กทรอนิกส์ที่มค ี วามสมบูรณ์มากขึ้นใน อนาคต เพื่อให้เกิดประโยชน์สง ู สุดต่อผู้เรียนในการศึกษาออนไลน์ o สื่อเหล่านี้ไม่วา่ จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว และวีดิทัศน์ ที่ถก ู นำเสนอใน ลักษณะของมัลติมเี ดีย จะต้องอาศัยเครือข่ายที่มค ี วามเร็วสูงเพียงพอ เพื่อรองรับ การส่งผ่านโดยไม่เกิดการสะดุด และมีความต่อเนื่อง o อย่างไรก็ตามเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปัจจุบน ั มีแนวโน้มด้านความเร็วที่สง ู ขึ้น จึง เป็นไปได้วา่ ภาพเคลื่อนไหวและวีดิทัศน์ที่มข ี อ ้ จำกัดในการใช้งานกับอีเลิรน ์ นิง ่ ใน ระยะหนึ่งจะกลายเป็นสื่อที่มบ ี ทบาทมากขึ้นต่อบทเรียนอีเลิรน ์ นิ ่งในอนาคตอันใกล้ การออกเอกสารรับรอง (Certification) ระบบ LMS ที่ดีจะต้องสามารถออกเอกสารรับรองผู้เรียนได้ เช่น วุ ฒบ ิ ต ั ร ประกาศนียบัตร หรือใบรับรอง เป็นต้นโดยเฉพาะระบบ LMS ที่ใช้ในการจัดการการฝึก อบรมหลังจากสิน ้ สุด การฝึกอบรมแบบออนไลน์แล้ว ระบบ LMS จะต้องออกเอกสาร รับรองให้กับผู้เรียนได้ด้วย
ระบบ Learning Content Management System (LCMS) o ได้มก ี ารนำระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System : CMS) มาเพิม ่ ขีดความสามารถในการผลิตคอร์สแวร์ให้กับระบบ LMS ภายใต้กรอบแนวคิด ของวงจร การพัฒนาเนื้อหา (Content Life Cycle) ประกอบด้วย 5 ขัน ้ ตอน ได้แก่ การผลิต การจัดการ การจัดเก็บ การรักษา และการเผยแพร่ (Bielawski and Boyle, 1997) o ซึ่งผลพวงที่ได้จากการนำระบบ CMS มาผนวกรวมกับระบบ LMS จึงกลายเป็น ระบบ Learning Content Management System (LCMS) o จนกระทัง ่ องค์การพัฒนาเครือข่ายการศึกษา และฝึกอบรมภาคพื้นยุโรป ได้ก่อตัง ่ ม โดยมีสมาชิก 60 ประเทศ เฉพาะที่เป็นสถาบัน ้ ขึ้น ณ ประเทศเบลเยีย ศึกษา และมหาวิทยาลัยมีจำนวน 40 ประเทศไม่เพียงแต่จะเป็นโครงข่ายที่มข ี นาด ใหญ่แล้ว ยังเป็นผู้สนับสนุน และชีน ้ ำ ทิศทางให้กับผู้กำหนดมาตรฐานการศึกษา และอุ ตสาหกรรมอีเลิรน ์ นิ่งอีกด้วย ในการนี้ EeuroPACE ได้จด ั สัมมนาเชิงปฏิบต ั ิ การ และค้นคิดแบบจำลอง LCMS 9 Layers
ระบบ Learning Content Management System (LCMS) o แบบจำลองระบบ LCMS 9 Layers สามารถแบ่งองค์ประกอบออกเป็น 9 ระดับ (EPYC, 2008) ดังนี้ ระดับที่ 1 การผลิต (Production) หมายถึง กระบวนการสร้างเนื้อหาวิชานัน ้ ๆ ด้วยเครื่องมือทัง ้ จากภายใน และภายนอกระบบ รวมไปถึงการนำแบบแผ่นสำเร็จรูป (Templates) มาใช้ประกอบการนำเสนอเนื้อหาบทเรียน ระดับที่ 2 การจัดเก็บ และเรียกใช้ (Storing and Archiving) หมายถึง กระบวนการเลือกใช้ฐานข้อมูลทัง ี ยูภ ่ ายใน และนอกระบบ รวมไปถึงการ ้ ที่มอ แบ่งบัน และใช้เนื้อหาบทเรียนร่วมกันตามแต่ขอ ้ กำหนดที่ใช้เป็นกฎเกณฑ์หรือมาตรฐาน ระดับที่ 3 การกำหนดโครงสร้างเนื้อหา (Structure) หมายถึง โครงสร้างของ เนื้อหาในแต่ละส่วนที่ได้จด ั ทำขึ้น รวมไปถึงส่วนอื่น ๆ ที่นำมาใช้ประกอบเป็นบทเรียน ได้แก่ คำถามที่ใช้บอ ่ ย(FAQ) อภิธานศัพท์ (Glossary) ส่วนอ้างอิง (Reference Material) แหล่งเชื่อมโยง (Links) เครื่องมือค้นหา (Searching Tools) ข้อ บันทึก (Annotation) และส่วนของพื้นที่ดาวน์โหลด (Download Area)
ระบบ Learning Content Management System (LCMS) o แบบจำลองระบบ LCMS 9 Layers สามารถแบ่งองค์ประกอบออกเป็น 9 ระดับ (EPYC, 2008) ดังนี้ ระดับที่ 4 การเผยแพร่ (Delivery) หมายถึง สื่อกลางที่ใช้ในการเผยแพร่ไปยังผู้ เรียนที่อยูป ่ ลายทาง ทัง ้ ในส่วนของประสานงานกับผู้ใช้ เช่น โปรแกรมบราวเซอร์ ปลัก ๊ อิน และไคล์เอ๊นต์ซอฟต์แวร์ เป็นต้น รวมไปถึงส่วนของซีดีรอม เอกสาร และ อุ ปกรณ์จด ั เก็บข้อมูลเคลื่อนที่ เป็นต้น ระดับที่ 5 การติดต่อสื่อสาร (Communication) หมายถึง ช่องทางในการ ติดต่อระหว่างผู้สง ่ กับผู้รบ ั ที่อยูป ่ ลายทาง ได้แก่ การสื่อสารแบบต่อเนื่อง (Synchronous) เช่น กระดาน- อิเล็กทรอกนิกส์ (Whiteboard) วีดีโอคอนเฟอร์ เรนซ์ (Video Conference) แชตรูม (Chartroom) เป็นต้น การสื่อสารแบบไม่ต่อ เนื่อง (Asynchronous) เช่น อีเมล์ (e-mail) และกระทู้ (Web Board) ซึ่งระบบ การติดต่อสื่อสารสามารถกระทำได้ ทัง ้ ที่มาจากส่วนภายในของระบบเองหรือแม้แต่นอก ระบบได้เช่นกัน ระดับที่ 6 การทดสอบ (Testing) หมายถึง กระบวนการวัดค่าเพื่อประเมินผลการ เรียนโดยอิงเกณฑ์หรือหลักการที่ได้กำหนดขึ้น
ระบบ Learning Content Management System (LCMS) o แบบจำลองระบบ LCMS 9 Layers สามารถแบ่งองค์ประกอบออกเป็น 9 ระดับ (EPYC, 2008) ดังนี้ ระดับที่ 7 การดูแลระบบ (Administration) หมายถึง กระบวนการจัดการ ทรัพยากรที่มอ ี ยูใ่ ห้มค ี วามเป็นระเบียบ ไม่วา่ จะเป็นการกำหนดสิทธิให้แก่ผู้ใช้งานในระบบ การพัฒนา และเผยแพร่เนื้อหาบทเรียน การสร้างเส้นทางเพื่อการเรียนรู ้ การรายงาน สรุปผล รวมถึงกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องทัง ้ ภายใน และภายนอกระบบ ระดับที่ 8 การสนับสนุนศักยภาพ (Competence Management) หมายถึง กระบวนการจัดการเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการปฏิบต ั ิงาน โดยพิจารณาจาก พฤติกรรม องค์ความรูค ้ ณ ุ ค่า รูปแบบ หลักการ การประเมินผล และวิเคราะห์ถึงช่อง ว่างของทักษะที่เกิดขึ้น รวมไปถึงการกำหนดทิศทาง และแนวโน้มในอนาคต ระดับที่ 9 การทำงานข้ามระบบ (Interoperability)หมายถึงขีดความสามารถ ในการเชื่อมโยง และการทำงานกับระบบอื่น ๆ เพื่อเพิม ่ ขีดความสามารถของระบบ LCMS ให้สง ู มากยิง ่ ขึ้น เช่น ระบบจัดการองค์ความรู ้ ระบบฐานข้อมูล และเมล์ เซิรฟ ์ เวอร์ เป็นต้น ในปัจจุบน ั ยังไม่พบว่ามีผลิตภัณฑ์ LMS หรือ LCMS ใด ๆ ที่ สามารถสนับสนุน และรองรับหลักการของ LCMS9 Layers ได้ครบทุกระดับ
ฟังก์ชน ั่ การทำงานระบบ Learning Content Management System (LCMS) ระบบ LCMS มีฟง ั ก์ชน ั ่ ต่าง ๆ ดังนี้ (เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2547) o Web-Based Content Editor เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในสร้าง แก้ไขเนื้อหา ที่ ต้องการนำเสนอผ่านเว็บ Web-Based Content Editor จะต้องมีการใช้งานที่ ง่าย รองรับการทำงานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) มีรูปแบบการสร้าง เนื้อหาที่หลากหลาย มีเครื่องมือช่วยสร้างเนื้อหา มีความสามารถในตรวจสอบคำผิด ตลอดจนมีฟง ั ก์ชน ั ่ อื่น ๆ เพิม ่ เติมเพื่อสนับสนุนให้สามารถใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิง ่ ขึ้น o Public Relations News System เป็นส่วนที่นำเสนอข่าวสาร และ เหตุการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการสนับสนุนเนื้อหาบทเรียนในรายวิชาต่าง ๆ ที่น ำเสนอ เป็นต้น o Author/Teacher Systems เป็นส่วนที่ออกแบบไว้สำหรับครู-อาจารย์ ไม่วา่ จะเป็นการสร้าง แก้ไข ลบ เพิม ่ เติมหรือปรับปรุงในแต่ละรายวิชา ตลอดจนถึงส่วนที่ เกี่ยวข้องกับรายวิชานัน ้ นะแหล่งค้นคว้า ้ เช่น อภิธานศัพท์ การจัดกิจกรรม การชีแ เพิม ่ เติม เป็นต้น o Learner/Student System เป็นส่วนที่ออกแบบไว้สำหรับผู้เรียนที่ต้องการ เข้าสูร่ ะบบเพื่อการเรียนรู ้ ซึ่งก่อนที่จะเข้าไปในส่วนนี้ได้ ผู้เรียนจะต้องมีการลง ทะเบียนในรายวิชาที่เปิดสอน และผู้สอนหรือผู้พฒ ั นาหลักสูตรจะอนุญาตให้เรียนได้
ฟังก์ชน ั่ การทำงานระบบ Learning Content Management System (LCMS) ระบบ LCMS มีฟง ั ก์ชน ั ่ ต่าง ๆ ดังนี้ (เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2547) o Parent System เป็นส่วนที่ออกแบบไว้สำหรับผู้ที่ต้องการตรวจสอบหรือผู้ ปกครองของผู้เรียน เพื่อติดตามผลการเรียน การทำกิจกรรมของผู้เรียนได้ o Course Director System เป็นส่วนที่ออกแบบไว้สำหรับผู้บริหารจัดการ หลักสูตรสามารถเข้าสูร่ ะบบเพื่อติดตาม และตรวจสอบเกี่ยวกับหลักสูตร ผู้เรียน และผู้สอนได้ เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจได้ o System Administrator System เป็นส่วนที่ออกแบบไว้สำหรับเจ้าหน้าที่ บริหารจัดการและดูแลระบบ เพื่อกำหนดกฏเกณฑ์ ระเบียบวิธี การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงระบบ ต่าง ๆ
ระบบการจัดการด้านการเรียนรูม ้ ูเดิ้ล (Moodle) o Moodle ย่อมาจาก Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ชว่ ยในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ และเป็นซอฟต์แวร์ลักษณะ Open source หรือ ซอร์ฟแวร์เสรี o ซึ่งสามารถนำมาติดตัง ั ิการ Linux และ Windows ซึ่งมีการ ้ ได้ทัง ้ ในระบบปฏิบต ทำงานในลักษณะ Web-Server และใช้ฐานข้อมูล MySQL และใช้ PHP ในการ เปิดโปรแกรม o พัฒนาโดยชื่อ มาร์ติน ดูเกียมาส (Martin Dougiamas) ศึกษาทางด้านการ ศึกษาและด้านคอมพิวเตอร์ในระดับปริญญาโท
ระบบการจัดการด้านการเรียนรูม ้ ูเดิ้ล (Moodle) ระบบบริหารจัดการการเรียนรูน ้ ี้มรี ูปแบบการจัดการที่แตกต่างกันออกไปตามผู้ใช้ ซึ่งมี 3 ลักษณะ คือ ผู้สอน ผู้เรียน และผู้บริหารจัดการระบบ ผู้สอน (Instructor) o Moodle จะทำหน้าที่ชว่ ยลดเวลาที่ผู้สอนจะต้องจัดเตรียมเนื้อหาเพื่อการนำเสนอ โดยช่วยให้การจัดเก็บเนื้อหา และป้อนข้อมูลผ่านทางเว็บเข้าสูร่ ะบบฐานข้อมูลเป็นไป ได้ง่ายขึ้น o โดยในส่วนนำเข้า และจัดเก็บเนื้อหาข้อมูลนัน ้ ผู้สอนสามารถสร้างเนื้อหาของ หลักสูตร กระดานเสวนาการบ้าน คำศัพท์ที่ใช้ในแต่ละหลักสูตร ตัวเลือก วารสาร สัมมนา ห้องสนทนา แบบทดสอบและแหล่งข้อมูลได้รวมทั ง ้ ยังสามารถดูรายงาน ผลกิจกรรมได้ โดยองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้ o ผู้สอนสามารถที่จะเพิม ่ เติม แก้ไขหรือลบออกจากรายวิชาที่สอนได้ o สอนยังสามารถที่จะสนทนากับผู้เรียนได้โดยตรง โดยทำการสนทนาผ่านห้อง สนทนาที่ระบบบริหารจัดการการเรียนรูไ้ ด้จด ั เตรียมไว้ให้ o สามารถออกข้อสอบ เพื่อใช้ในการประเมินผลการเรียนของผู้เรียนได้อีกด้วย สามารถกำหนดช่วงระยะเวลาของแบบทดสอบหรือข้อสอบ เพื่อให้ผู้เรียนเข้ามาทำ แบบทดสอบหรือข้อสอบ ตามวันเวลาที่กำหนดได้
ระบบการจัดการด้านการเรียนรูม ้ ูเดิ้ล (Moodle) ผู้เรียน (Student) o ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนวิชาต่าง ๆ ที่ตนเองมีสท ิ ธิเ์ รียนได้ โดยผู้เรียนแต่ละคน o สามารถใช้หอ ้ งสนทนาเพื่อสอบถามกับอาจารย์ในกรณีที่มข ี อ ้ สงสัยต่าง ๆ o ผูเ้ รียนสามารถที่จะทราบคะแนนจากการทำการบ้านหรืองานที่อาจารย์มอบหมายให้ ทำได้ o สามารถทำแบบทดสอบ การบ้านหรือข้อสอบที่ผู้สอนจัดทำขึ้นได้ เพื่อเป็นการ ประเมินตนเองเกี่ยวกับเนื้อหาที่ได้เรียนมา ร o สามารถส่งการบ้านผ่านระบบนี้ได้เช่นกัน o หากผู้เรียนมีขอ ้ สงสัยในรายวิชาที่เรียนก็สามารถโพสต์ขอ ้ ความผ่านกระดานเสวนา ได้ o หากต้องการติดต่อกับอาจารย์ผู้สอน ก็สามารถส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ถึง อาจารย์ผู้สอนได้เช่นกัน
ระบบการจัดการด้านการเรียนรูม ้ ูเดิ้ล (Moodle) ผู้บริหารจัดการระบบ (Administrator) o ผู้บริหารจัดการระบบสามารถตัง ้ ค่าหรือปรับเปลี่ยนค่าต่าง ๆ ของระบบได้ เช่น การ เพิม ่ แก้ไข และลบส่วนประกอบต่าง ๆ ในระบบได้ รูปแบบเว็บไซต์ เช่น โทนสีของ เว็บไซต์โดยระบบนี้จะมีโทนสีให้เลือกมากมาย ภาษาที่ใช้แสดง การ o จัดการเกี่ยวกับสมาชิก บันทึกการใช้งานเว็บไซต์ o ระบบไฟล์ของเว็บไซต์ การจัดการองค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กระดานเสวนา การบ้าน คำศัพท์ และอื่น ๆ o สามารถซ่อนหรือแสดงองค์ประกอบนัน ้ ๆ ได้ รวมทัง ้ การสำรองข้อมูลของระบบ
กิจกรรมใน Moodle กิจกรรมต่าง ๆ ของระบบ Moodle นี้มใี ห้ใช้มากมายตามความต้องการของผู้ที่ใช้ใน การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ดังนี้ o กิจกรรมกระดานเสวนา o กิจกรรมห้องสนทนา o กิจกรรมโพล์ o กิจกรรมการบ้าน o กิจกรรมบทเรียนสำเร็จรูป o กิจกรรมบันทึกความก้าวหน้า o กิจกรรมหนังสือ o กิจกรรมห้องปฏิบต ั ิการ o กิจกรรมอภิธานศัพท์ o กิจกรรมแบบทดสอบ o กิจกรรมแบบสอบถาม o กิจกรรม SCORM o กิจกรรม Wiki o กิจกรรม Hotpot
กิจกรรมใน Moodle แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ o แหล่งข้อมูลแบบตัวหนังสือ o แหล่งข้อมูลแบบหน้าเว็บเพจใหม่ o แหล่งข้อมูลแบบ ไฟล์หรือเว็บไซต์ o แหล่งข้อมูลแบบแสดงไดเรกทอรี o ป้าย Label
คำถามท้ายบท 1. ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน(Learning Management System : LMS) คืออะไร ยกตัวอย่าง 2. องค์ประกอบหลักของระบบ LMS มีอะไรบ้าง 3. จงยกตัวอย่าง Open Source ของ LMS 4. ประเภทของเครื่องมือติดต่อสื่อสาร (Communication) คืออะไรพร้อมยกตัวอย่าง 5. ระบบการจัดการด้านการเรียนรูม ้ ูเดิ้ล (Moodle) มีกิจกรรมและแหล่งข้อมูลอะไรบ้าง