บทที่ 4 การบริหารเวลาโครงการ (Project Time Management)
51 Slides573.33 KB
บทที่ 4 การบริหารเวลาโครงการ (Project Time Management)
การบริหารเวลาโครงการ กระบวนการที่ถก ู สร้างขึ้นมา เพื่อให้ มัน ่ ใจว่า โครงการจะแล้วเสร็จในเวลา ที่เหมาะสม
ขัน ้ ตอนการบริหารเวลาโครงการ 1. การกำหนดกิจกรรม (Activity definition) 2. การจัดลำดับกิจกรรม (Activity sequencing) 3. การประมาณการระยะเวลากิจกรรม (Activity duration estimating) 4. การจัดทำตารางเวลา (Schedule development) 5. การควบคุมตารางเวลา (Schedule control)
1. การกำหนดกิจกรรม (Activity Definition) คือ การระบุกิจกรรมที่สมาชิกทีมงานโครงการและ บุคคลที่เกี่ยวข้องจะต้องกระทำ เพื่อผลิตชิน ้ งาน ของโครงการกิจกรรม (Activity หรือ Task) – (Activity หรือ Task) คือ ส่วนของงานที่มล ี ักษณะ ย่อยจนสามารถเข้าใจและเห็นภาพได้อย่างชัดเจนว่าจะ ต้องดำเนินการอย่างไรบ้าง กิจกรรมเหล่านี้จะปรากฏอยูใ่ นโครงสร้างกิจกรรม ย่อย (WBS) และถูกกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ ระยะเวลา ต้นทุน และทรัพยากรที่คาดว่าจะต้องใช้
1. การกำหนดกิจกรรม (Activity Definition) ผลผลิตที่ได้รบ ั จากขัน ้ ตอนการ กำหนดกิจกรรมคือ –รายละเอียดข้อมูลสำคัญๆ เพิม ่ เติมที่ เป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับสินค้า หรือบริการที่โครงการจะผลิตขึ้น –ข้อสมมติฐานและข้อจำกัดของกิจกรรม แต่ละกิจกรรม
1. การกำหนดกิจกรรม (Activity Definition) การกำหนดกิจกรรม ควรจะได้รบ ั ความร่วมมือจากสมาชิกทีมงาน บุคคลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เพื่อให้ได้ - ตารางเวลาโครงการที่มรี ายละเอียดครบถ้วน - จำนวนกิจกรรมทัง ้ หมดต้องมีในโครงการ - ระยะเวลา ต้นทุนและทรัพยากรที่จำเป็นต้อง ใช้
2. การจัดลำดับกิจกรรม (Activity Sequencing) เป็นการระบุความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมของโครงการไว้ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร กระบวนการจัดลำดับกิจกรรม – พิจารณากิจกรรมต่างๆ ใน WBS – จัดลำดับกิจกรรมจากรายละเอียดคุณสมบัติของสินค้าหรือ บริการที่จะผลิต – ข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้อง – ข้อจำกัดเพื่อกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมของโครงการ – การประเมินถึงความสัมพันธ์ที่กำหนดขึ้น และประเภทของความ สัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม
2. การจัดลำดับกิจกรรม (Activity Sequencing) ความสัมพันธ์ (Relationship) เป็นการแสดงการ จัดลำดับกิจกรรมของโครงการ เช่น – กิจกรรมใดควรมาก่อนกิจกรรมใด – กิจกรรมใดควรจะแล้วเสร็จก่อนกิจกรรมถัดไปถึงจะเริม ่ ต้น ดำเนินการได้ – กิจกรรมใดบ้างที่สามารถกระทำไปได้พร้อมๆ กัน การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม มี ผลกระทบต่อการสร้างและการบริหารตาราง เวลาโครงการ
2. การจัดลำดับกิจกรรม (Activity Sequencing) ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมในโครงการ โดยทัว่ ไปมีอยู่ 3 ประเภท หลักๆ คือ 1.ความสัมพันธ์ที่จำเป็นต้องมี (Mandatory relationship) 2. ความสัมพันธ์ที่กำหนดตามความเหมาะสม (Discretionary relationship) 3. ความสัมพันธ์กับสิง ่ แวดล้อมภายนอก (External relationship)
ความสัมพันธ์ (Relationship) ของ กิจกรรม 2.1 ความสัมพันธ์ที่จำเป็นต้องมี (Mandatory relationship) เป็นความ สัมพันธ์โดยธรรมชาติ ที่ถือเป็นส่วนหนึ่ง ของการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องใน โครงการและไม่สามารถขาดได้ ยกตัวอย่าง เช่น การสร้าง WBS จะกระทำก่อนการเก็บ รวบรวมข้อมูลความต้องการของลูกค้าไม่ ได้
ความสัมพันธ์ (Relationship) ของ กิจกรรม 2.2 ความสัมพันธ์ที่กำหนดตามความเหมาะสม (Discretionary relationship) เป็นความสัมพันธ์ที่ถก ู กำหนด ขึ้นโดยทีมงาน ตามความเหมาะสมของแต่ละโครงการ ความ สัมพันธ์ลักษณะนี้จะต้องถูกกำหนดขึ้นอย่างระมัดระวัง เนื่องจากการกำหนดความสัมพันธ์ดังกล่าว อาจมีผลกระทบ ต่อจำนวนทางเลือกในการบริหารตารางเวลาในภายหลังได้ ยกตัวอย่าง เช่น การเริม ่ ต้นออกแบบระบบสารสนเทศใน โครงการ จะกระทำได้ต่อเมื่อผู้จด ั การโครงการได้อนุมต ั ิผล การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศนัน ้ อย่างเป็นทางการเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว เป็นต้น
ความสัมพันธ์ (Relationship) ของ กิจกรรม 2.3 ความสัมพันธ์กับสิง ่ แวดล้อมภายนอก (External relationship) เป็นความสัมพันธ์ที่ เกิดขึ้น ระหว่างกิจกรรมของโครงการกับ กิจกรรมภายนอกโครงการ ยกตัวอย่าง เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างการ ดำเนินการทำสัญญาโครงการกับการอนุมต ั ิ โครงการโดยประธานคณะกรรมการบริหาร กิจการของลูกค้าหรือผู้ใช้
ความสัมพันธ์ (Relationship) ของ กิจกรรม กิจกรรมทัง ้ หมดของโครงการพร้อมทัง ้ ความ สัมพันธ์จะถูกนำมาเขียนเป็นแผนผัง (Diagram) เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ตาม ลำดับก่อนหลังระหว่างกิจกรรมต่างๆ อย่าง ชัดเจน แผนผังแสดงความสัมพันธ์ที่เป็นที่นิยมใช้กัน เรียกว่า แผนผังเครือข่าย (Network diagram)
แผนผังแสดงความสัมพันธ์
การเขียนข่ายงาน (Network Diagram) การเขียนแผนภูมห ิ รือไดอะแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อ ใช้แทนกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องทำในโครงการ โดยแสดงลำดับก่อนหลังของกิจกรรม โดยจะ ใช้สญ ั ลักษณ์ลก ู ศรและวงลมในการเขียน
การเขียนข่ายงาน (Network Diagram) หลักเกณฑ์การเขียนข่ายงาน มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. กำหนดจุดเริม ่ ต้นและจุดสิน ้ สุดของโครงการ โดยจะ ต้องมีอย่างละจุดเท่านัน ้ 2. กิจกรรม 1 กิจกรรมจะเขียนแทนด้วยลูกศร 1 เส้น และบนลูกศรจะมีอักษรและตัวเลขกำกับ โดยตัว อักษรจะแสดงรหัสของกิจกรรมและตัวเลขจะแทน เวลาที่ต้องทำในกิจกรรม กิจกรรม A
การเขียนข่ายงาน (Network หลักเกณฑ์การเขียนข่าDiagram) ยงาน (ต่อ) 3. กิจกรรมระหว่างโหนด (Node) หรือเหตุการณ์ (Event) จะ เชื่อมด้วยลูกศรเดียวเท่านัน ้ กิจกรร 1 2 มA 4. พยายามหลีกเลี่ยงลูกศรตัดกัน 5. กิจกรรมจะต้องเขียนเรียงไปตามลำดับ ถ้ากิจกรรมหลัง เป็นกิจกรรมที่มค ี วามสัมพันธ์กับกิจกรรมก่อนหน้า ต้องเริม ่ ต้นทำเมื่อกิจกรรมข้างหน้าทำเสร็จแล้วเท่านัน ้ 1 กิจกรร 2 กิจกรรม 3 มA B แสดงกิจกรรมที่เขียนเรียงไปตามลำดับ
การเขียนข่ายงาน (Network หลักเกณฑ์การเขียนข่าDiagram) ยงาน (ต่อ) 6. กรณีที่มส ี องกิจกรรมหรือมากกว่า มีจุดเริม ่ ต้นเดียวกันจะ ต้องเขียนแบบขนาน 2 กิจกรร ม 1A กิจกรรม 3 กิจกรรม 4 C B แสดงกิจกรรมที่เขียนแบบขนาน
แผนผังเครือข่าย แผนผังเครือข่ายโดยทัว่ ไป สามารถถูกสร้าง ได้ 2 วิธี คือ 1. ตามหลักการของกิจกรรมบนลูกศร (Activity-on-arrow (AOA) หรือ Arrow diagramming method (ADM) 2. ตามหลักการของกิจกรรมบนจุดเชื่อมต่อ (Activity-on-node (AON) หรือ Precedence diagramming method (PDM)
หลักการของกิจกรรมบนลูกศร (Activity-on-arrow (AOA) ลูกศร (Arrow) 1 ลูกศร จะเป็นตัวแทน ของกิจกรรมย่อย 1 กิจกรรม ซึ่งถูก เชื่อมต่อกันด้วยจุดเชื่อมต่อ (Node) และลูกศรแต่ละลูกศรยังช่วยแสดง ความสัมพันธ์ตามลำดับก่อนหลังของ กิจกรรมแต่ละกิจกรรมในโครงการ
หลักการของกิจกรรมบนลูกศร (Activity-on-arrow (AOA) ในแผนผังเครือข่ายแบบ AOA จำเป็นต้องใช้ กิจกรรมสมมุติหรือกิจกรรมจำลอง (Dummy activity) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เพียงแต่สมมุติข้น ึ มาโดย ไม่มต ี ัวตนที่แท้จริง กิจกรรมสมมุติจะไม่มรี ะยะเวลาในการทำกิจกรรม (Duration 0) และไม่ใช้ทรัพยากรใดๆ ทัง ้ สิน ้ (Resources 0) กิจกรรมสมมุติจะถูกแสดงด้วยสัญลักษณ์ลก ู ศรที่ เป็นเส้นประ
หลักการของกิจกรรมบนจุ ดเชื่อมต่อ (Activity-on-node (AON) หลักการของกิจกรรมบนจุ ดเชื่อมต่อ (Activity-on-node (AON) นิยมใช้กัน มากกว่าแผนผังเครือข่ายแบบ AOA โดยกล่องหรือวงกลม จะเป็นตัวแทน ของกิจกรรม
(Activity-on-node (AON)
(Activity-on-node (AON) 1) โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้สำหรับการบริหารจัดการโครงการ ส่วนใหญ่ใช้หลักการของแผนผังเครือข่ายแบบ AON 2) แผนผังเครือข่ายแบบ AON ตัดปัญหาการใช้กิจกรรม สมมุติ (Dummy activity) หลักการของแผนผังเครือข่าย แบบ AON ไม่มค ี วามจำเป็นต้องใช้กิจกรรมสมมุติ 3) แผนผังเครือข่ายแบบ AON สามารถแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างกิจกรรมได้ในหลากหลายรูปแบบ ขณะที่แผนผัง เครือข่ายแบบ AOA สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กิจกรรมได้ในรูปแบบเดียว คือ แบบ Finish-to-start
แสดงตารางเปรียบเทียบการเขียนแผนผัง เครือข่าย กิจกรรมบนลูก ศร (Activity-onarrow (AOA) และกิจกรรมบน จุดเชื่อมต่อ (Activity-onnode (AON)
Task Predec essors Tasks Time (Weeks) 3 5 7 A 8 B 5 C 5 E 4 F 5 D 6 G-H 4 เปรียบเทียบ (Dependencies) A B C D E F G H I J AOA AON
แผนผังเครือข่าย กิจกรรมทุกกิจกรรมบนแผนผังเครือข่ายเป็นกิจกรรม ที่จำเป็นต้องทำ เพื่อให้โครงการทัง ้ โครงการแล้วเสร็จ กิจกรรมย่อยบางกิจกรรมที่ถก ู กำหนดไว้ใน WBS อาจ ไม่จำเป็นต้องปรากฏอยูบ ่ นแผนผังเครือข่าย เช่น กิจกรรมที่มข ี นาดเล็กเกินไป กรณีที่ต้องการจะแสดงกิจกรรมย่อยๆ บนแผนผัง เครือข่ายของโครงการขนาดใหญ่ ทีมงานโครงการ อาจจัดทำแผนผังเครือข่ายย่อยเพื่อประกอบแผนผัง เครือข่ายใหญ่
3. การประมาณการระยะเวลากิจกรรม (Activity Duration Estimating) เป็นการประมาณการช่วงระยะเวลาของ กิจกรรมแต่ละกิจกรรมของโครงการที่จะ ดำเนินกิจกรรมให้แล้วเสร็จ ข้อควรคำนึงถึงในการประมาณการช่วงระยะ เวลาของกิจกรรม ก็คือ ค่าของช่วงระยะ เวลา ซึ่งจะเป็นผลรวมของระยะเวลาที่ใช้ใน การดำเนินกิจกรรมนัน ้ ๆ จริงและระยะเวลาที่ จำเป็นต้องสูญเสียไปในระหว่างที่ดำเนิน
3. การประมาณการระยะเวลากิจกรรม (Activity Duration Estimating) ตัวอย่าง ช่วงระยะเวลาในการเขียนโปรแกรม (Coding) ในโครงการสร้าง Web site สำหรับ การประกอบธุรกิจ Online ของกิจการหนึ่ง จำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงทัง ้ ระยะเวลาที่จะ ต้องใช้ในการเขียนโปรแกรมจริงๆ และระยะ เวลาในการศึกษาเพิม ่ เติมเกี่ยวกับ Code และ ระยะเวลาที่จะต้องสูญเสียไปในการแก้ Code ที่ผิดพลาดเข้าไปรวมอยูด ่ ้วย
3. การประมาณการระยะเวลากิจกรรม (Activity Duration Estimating) บุคคลที่เกี่ยวข้องกับโครงการทุกๆ ฝ่าย จะมี บทบาทในการประมาณการระยะเวลากิจกรรม แต่บุคคลที่มบ ี ทบาทและมีอิทธิพลมากที่สด ุ ในการประมาณการ คือ บุคคลที่จะเป็นผู้รบ ั ผิดชอบและดำเนินกิจกรรมนัน ้ ๆ การปรับปรุงแก้ไขช่วงระยะเวลาจะต้องเกิด ขึ้นทุกครัง้ หลังจากที่ขอบเขตงานโครงการได้ ถูกปรับเปลี่ยนไป
3. การประมาณการระยะเวลากิจกรรม (Activity Duration Estimating) การประมาณการระยะเวลากิจกรรม (Activity Duration Estimating) ควร ศึกษาโครงการในอดีตที่มล ี ักษณะ คล้ายคลึงกัน และขอคำแนะนำจากผู้ที่มี ประสบการณ์ความชำนาญในโครงการ ประเภทเดียวกัน
3. การประมาณการระยะเวลากิจกรรม (Activity Duration Estimating) การพิจารณาและคำนึงถึงปัจจัยหลักที่มผ ี ลก ระทบต่อโครงการ และความถูกต้องเที่ยง ตรงแม่นยำของระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอ ตลอดช่วงระยะเวลาของโครงการ จะทำให้ ตารางเวลาโครงการสามารถสะท้อนให้เห็น ความเป็นจริง และปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นได้ ทันท่วงที
4.การจัดทำตารางเวลา (Schedule Development) การจัดทำตารางเวลา (Schedule development) – จะเริม ่ จากการวิเคราะห์ลำดับก่อนหลังของกิจกรรมไป พร้อมๆ กับระยะเวลาที่ประมาณการไว้และทรัพยากรที่ คาดว่าจะต้องใช้ของแต่ละกิจกรรม – นำข้อมูลที่วเิ คราะห์ได้ทัง ้ หมดมาใช้สร้างตารางเวลา สำหรับโครงการ – ต้องใช้ผลลัพธ์ที่ได้จากทุกขัน ้ ตอนในการบริหารเวลา โครงการก่อนหน้า มาประกอบการพิจารณาด้วย
4.การจัดทำตารางเวลา (Schedule Development) ผลลัพธ์จากการดำเนินการจัดทำตารางเวลา ทีมงานโครงการจะได้รบ ั ตารางเวลา โครงการที่ใกล้เคียงความเป็นจริงและ แสดงอย่างชัดเจนถึงวันเริม ่ ต้นและวันสิน ้ สุดของโครงการ เพื่อที่จะนำไปใช้ในการ ตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการตาม ระยะเวลาที่ได้กำหนดเอาไว้
4.การจัดทำตารางเวลา (Schedule Development) 1. การใช้ Gantt chart 2. การวิเคราะห์ด้วย Critical path method (CPM) 3. การวิเคราะห์ด้วย Program evaluation and review technique (PERT)
4.การจัดทำตารางเวลา (Schedule Development) 1. การใช้ Gantt chart เป็นเครื่องมือขัน ้ พื้นฐานในการจัดทำและแสดงข้อมูล เกี่ยวกับตารางเวลาโครงการอย่างง่าย และรวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเวลาในการ พิจารณาและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ตามลำดับก่อนหลังของกิจกรรมใน โครงการ
4.การจัดทำตารางเวลา (Schedule Development) 2. การวิเคราะห์ด้วย Critical path method (CPM) เป็นเครื่องมือที่ถก ู นำ มาใช้ในการสร้างและควบคุมตาราง เวลาโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.การจัดทำตารางเวลา (Schedule Development) 3. การวิเคราะห์ด้วย Program evaluation and review technique (PERT) เป็นเทคนิค ในการประเมินความเสีย ่ งของตารางเวลา โครงการ ซึ่งมักจะถูกนำมาใช้เมื่อโครงกา รนัน ้ ๆ จำเป็นต้องใช้เงินทุนสูงและมีความ เสีย ่ งสูง
Gantt Chart
Gantt Chart – สีเ่ หลี่ยมขนมเปียกปูนสีดำ (Black diamond) เป็น สัญลักษณ์แทนเหตุการณ์สำคัญของโครงการ (Milestone) ที่มรี ะยะเวลาเป็น 0 หน่วย – แถบทึบสีดำที่มล ี ก ู ศรอยูท ่ ี่หวั และท้ายของแถบ เป็น สัญลักษณ์แทนกิจกรรมหลัก (Summary task) – แถบบางสีเทา เป็นสัญลักษณ์แทนช่วงระยะเวลา ของกิจกรรมแต่ละกิจกรรม – ลูกศรที่เชื่อมสัญลักษณ์ต่างๆ แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างกิจกรรม
Gantt chart Tracking Gantt chart เพื่อช่วยประเมินความก้าวหน้าของ โครงการ โดยการเปรียบเทียบข้อมูลด้านเวลาที่เกิดขึ้น จริงกับที่ได้วางแผนเอาไว้ – แถบบางสีเทาเป็นสัญลักษณ์แทนช่วงระยะเวลาของแต่ละ กิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ตามแผน เรียกว่า Baseline และสัมพันธ์ กับวันที่ในการทำกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามแผน เรียกว่า Baseline date – แถบทึบสีดำด้านล่างที่อยูต ่ ิดกับแถบบางสีเทาแต่ละแถบเป็น สัญลักษณ์แทนช่วงระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม ที่ได้ใช้ไปจริง – สีเ่ หลี่ยมขนมเปียกปูนสีขาว (White diamond) เป็นสัญลักษณ์ แทนกิจกรรมสำคัญของโครงการที่แล้วเสร็จช้ากว่าเวลาที่ได้ กำหนดไว้ตามแผน (หรือถือเป็น Slipped milestone) – นอกจากนัน ่ างด้านขวามือของแถบ ้ ค่าเปอร์เซ็นต์ที่ปรากฏอยูท
Tracking Gantt chart
Gantt chart สัญลักษณ์ Tracking Gantt chart – แถบบางสีเทาเป็นสัญลักษณ์แทนช่วงระยะเวลาของแต่ละ กิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ตามแผน เรียกว่า Baseline และสัมพันธ์ กับวันที่ในการทำกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามแผน เรียกว่า Baseline date – แถบทึบสีดำด้านล่างที่อยูต ่ ิดกับแถบบางสีเทาแต่ละแถบเป็น สัญลักษณ์แทนช่วงระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม ที่ได้ใช้ไปจริง – สีเ่ หลี่ยมขนมเปียกปูนสีขาว (White diamond) เป็นสัญลักษณ์ แทนกิจกรรมสำคัญของโครงการที่แล้วเสร็จช้ากว่าเวลาที่ได้ กำหนดไว้ตามแผน (หรือถือเป็น Slipped milestone) – ค่าเปอร์เซ็นต์ที่ปรากฏอยูท ่ างด้านขวามือของแถบต่างๆ แสดง ค่าร้อยละที่กิจกรรมต่างๆ แล้วเสร็จ
Program Evaluation and Review Technique (PERT) และ Critical Path Method (CPM) แสดงความสัมพันธ์ก่อนหลังของกิจกรรมใน โครงการได้ ความแตกต่างที่สำคัญระหว่าง PERT และ CPM คือ – เทคนิค PERT ใช้ค่าเวลาประมาณการ 3 ค่าต่อ กิจกรรมหนึ่งกิจกรรม เพื่อคำนวณค่าคาดการณ์ (Expected value) และส่วนเบีย ่ งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ของกิจกรรม – เทคนิค CPM ทำงานบนข้อสมมุติฐานที่วา่ เวลาใน การทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งเป็นค่าที่เป็นที่รก ู ้ ัน บนพื้นฐานของความแน่นอนไม่มค ี วามเสีย ่ ง จึง
Program Evaluation and Review Technique (PERT) และ Critical Path Method (CPM) กำหนดโครงการและสร้าง WBS สร้างความสัมพันธ์ตามลำดับก่อนหลังระหว่างกิจกรรม เขียนแผนผังเครือข่ายที่เชื่อมต่อกิจกรรมเข้าด้วยกันตาม ความสัมพันธ์ที่ระบุ กำหนดเวลาหรือต้นทุนโดยประมาณให้กับแต่ละกิจกรรม คำนวณเส้นทางที่ใช้เวลานานที่สด ุ หรือเส้นทางวิกฤต (Critical path) ของแผนผังเครือข่าย นำแผนผังเครือข่ายที่สร้างขึ้นไปใช้ในการวางแผน การจัด ทำตารางเวลา การตรวจสอบ และการควบคุมโครงการ
กิจกรรม สมมติวา่ จะเขียน S/W ซึ่งเป็น Application Program โดย มีขน ั้ ตอนดังนี้ 1. รวบรวมความต้องการ 5 วัน 2. ออกแบบรายงาน 6 วัน 3. ออกแบบหน้าจอ 6 วัน 4. ออกแบบฐานข้อมูล 2 วัน 5. จัดทำเอกสาร 5.5วัน 6. เขียนโปรแกรม 5 วัน 7. ทดสอบโปรแกรม 3 วัน 8. ติดตัง 1 วัน ้ โปรแกรม
PERT Chart Activity on branch 1 รวบรวม ความต้องการ 5 ออกแบบ หน้าจอ 6 4 5 เขียนโปรแกรม 2 ออกแบบ 6 รายงาน ออกแบบ ฐานข้อมูล 2 3 จัดทำ เอกสาร 5.5 5 6 ทดสอบ โปรแกรม 3 8 ติดตัง ้ โปรแกรม 1 7 เรียกลูกศรเส้นประว่า “กิจกรรมสมมติ (Dummy Activity)” หมายถึง กิจกรรมที่สมมติข้น ึ มาเพื่อแก้ปัญหาความสัมพันธ์ ก่อนหลังของกิจกรรม
CPM Chart Activity on Node ออกแบบรายงาน รวบรวมความ ต้องการ 1 5 จัดทำ เอกสาร 5 5.5 2 6 4 2 ออกแบบ ฐานข้อมูล 6 3 ออกแบบหน้าจอ ติดตัง ้ โปรแกรม 8 1 5 3 6 7 เขียนโปรแกรม ทดสอบ โปรแกรม
ข้อแตกต่างระหว่าง Gantt และ PERT/CPM Gantt Chart PERT/CPM Chart 1. เหมาะสำหรับโครงการ 1. เหมาะสำหรับโครงการ ที่มข ี นาดเล็ก ที่มข ี นาดใหญ่ 2. สามารถแสดงให้เห็น 2. สามารถแสดงกิจกรรม ถึงกิจกรรมที่ทำใน ที่สำคัญได้ (Critical เวลาเดียวกันได้ Path) ทำให้มก ี าร 3. แสดงกิจกรรมที่สำคัญ ควบคุมการใช้ทรัพยากร ต่อโครงการได้ ได้อย่างคุ้มค่า (Critical Path) 49
5. การควบคุมตารางเวลา (Schedule Control) - การควบคุมและบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงของตาราง เวลาอาจจะเกิดขึ้นได้ในระหว่างการดำเนินโครงการ - เน้นให้สมาชิกทีมงานโครงการเล็งเห็นความสำคัญของการ มีระเบียบวินัยในการปฏิบต ั ิงานให้ได้ และสามารถดำเนินงาน แล้วเสร็จตามตารางเวลาของโครงการที่ได้กำหนดไว้ - คำนึงถึงหลักการที่ถก ู ต้องในการบริหารจัดการทรัพยากร มนุษย์ควบคู่ไปกับการจัดทำตารางเวลาที่เหมาะสม และการ บริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ - “โครงการส่วนใหญ่ล้มเหลวลงเนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับคน ไม่ใช่เพราะความผิดพลาดจากการสร้างแผนผัง PERT ที่ไม่ดี”
คำถามท้ายบท จงอธิบายถึงความสำคัญของตารางเวลาโครงการ และการบริหารเวลาโครงการที่ดี ขัน ้ ตอนการบริหารเวลาโครงการมีอะไรบ้าง แผนผังเครือข่ายมีประโยชน์อย่างไร การควบคุมเวลาตารางเวลา ควรควบคุมส่วนใด มากที่สด ุ เพราะเหตุใด การประมาณการระยะเวลากิจกรรมควรทำอย่างไร จงอธิบาย